แผนการเรียนปี 3 สำหรับนักศึกษาที่เลือกรายวิชาสหกิจศึกษา
ปี 3 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วยกิต
แนวโน้มและแนวคิดในการทำธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการองค์การ การตลาด การจัดการด้านการเงิน การเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ การจัดทำแบบจำลองธุรกิจ
เลือกจากรายวิชาภาษา
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการบอกข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน ความสนใจ การสนทนาสั้นๆ ในสถานการณ์ต่าง ๆ การเขียนข้อความสั้น ๆ การฟังและอ่านข้อความสั้น ๆ จากสื่อต่าง ๆ
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล การสนทนาอย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ การฟังและการอ่านเนื้อหาในเรื่องที่เกี่ยวข้องจากสื่อ
คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างภาษาในการสนทนาตามสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาในการนำเสนองานในแต่ละขั้นตอน การใช้วจนภาษาและ อวจนภาษา การใช้สื่อประกอบการนำเสนองาน การนำเสนอเชิงสถิติ การตั้งคำถามและการตอบคำถามระหว่างนำเสนอ
การเขียนประโยค การเขียนย่อหน้า การกรอกแบบฟอร์ม การเขียนบันทึกส่วนตัว การเขียนจดหมายส่วนตัว การจัดข้อความโดยย่อจาการอ่านและการฟัง
ทักษะการฟังและการพูดในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน เน้นการออกเสียงที่ถูกต้อง ความสามารถในการถ่ายทอดความต้องการเป็นภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์จำลองได้
บทสนทนาภาษาญี่ปุ่นในรูปแบบต่าง ๆ โดยอาศัยสถานการณ์จำลองจากสถานการณ์จริงที่ผู้เรียนจะต้องพบในชีวิตประจำวัน โดยฝึกฝนให้สามารถใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว เมื่อขำนาญขึ้น สามารถนำคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ มาประกอบเพื่อขยายขอบเขตของบทสนทนาให้กว้างต่อไป
วิชาบังคับก่อน : 09-512-206 แนวคิดในการประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหาร
การวิเคราะห์แนวโน้มของอุตสาหกรรมอาหาร (ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และการบริการ) การวิเคราะห์ตลาดของอุตสาหกรรมอาหาร การวิเคราะห์โมเดลธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหาร การออกแบบโครงสร้างต้นทุน การนำเสนอแนวคิดนวัตกรรมในอุตสาหกรรมอาหารของนักศึกษา
การวิเคราะห์แนวโน้มของอุตสาหกรรมอาหาร (ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และการบริการ) การวิเคราะห์ตลาดของอุตสาหกรรมอาหาร การวิเคราะห์โมเดลธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหาร การออกแบบโครงสร้างต้นทุน การนำเสนอแนวคิดนวัตกรรมในอุตสาหกรรมอาหารของนักศึกษา
บทบาท ความหมาย และความสำคัญของธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารขนาดกลางและขนาดย่อม แนวคิดในการประกอบธุรกิจ การวิเคราะห์แนวโน้ม โอกาสทางธุรกิจ และกลยุทธิ์ในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร แนวทางการจัดตั้งธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารขนาดกลางและขนาดย่อม การจัดการตลาด การจัดหาเงินทุนและการระดมทุน การบริหารการเงินและการบัญชี การผลิตและการดำเนินการ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การบริหารความเสี่ยง ธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารเชิงนวัตกรรม แผนธุรกิจเชิงนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
1. ชุดวิชาการพัฒนานวัตกรรมอาหารอนาคต
ความหมาย บทบาท และความสำคัญของอาหารเพื่อสุขภาพ แนวคิดการพัฒนาอาหารอนาคต อาหารเกษตรอินทรีย์ อาหารและเครื่องดื่มฟังก์ชัน อาหารทางการแพทย์ อาหารใหม่ที่เกิดจากนวัตกรรม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การกล่าวอ้างทางสุขภาพ
อาหารอนาคต หลักการการผลิตอาหารอนาคต เทคโนโลยีการผลิตแบบใช้และไม่ใช้ความร้อน เทคโนโลยีการหมักสมัยใหม่และเทคนิคทางชีวโมเลกุล เทคโนโลยีการสกัด เทคโนโลยีการทำให้เข้มข้นและทำให้เข้มข้นและทำให้บริสุทธิ์ เทคโนโลยีการทำให้เป็นผง
09-513-302
บรรจุภัณฑ์และการออกแบบสำหรับอาหารอนาคต
Food Packaging and Design for Future Foods
Food Packaging and Design for Future Foods
3(2-3-5)
หลักการ ความสำคัญ และหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์อาหาร ความปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์อาหารอาหาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีการบรรจุภัณฑ์อาหาร บรรจุภัณฑ์สำหรับไมโครเวฟ บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การทดสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์อาหาร การหาอายุการเก็บของอาหารในบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหารอนาคต
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร สถิติและการวางแผนการทดลองสำหรับอาหารอนาคตเทคนิคและวิธีการพัฒนาสำหรับนวัตกรรมอาหารอนาคต การวิเคราะห์และสรุปผล การวางแผนและต้นทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
2. ชุดวิชาอาหารปลอดภัยและการควบคุมระบบประกันคุณภาพ
ความสำคัญของกฎหมาย ข้อกำหนดในอุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานของอาหารระดับประเทศและสากล พระราชบัญญัติอาหาร กฎหมายควบคุมการประกอบการกิจการโรงงานอุตสาหกรรม การจดทะเบียนอาหาร การแสดงฉากและการโฆษณาอาหารกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การขออนุญาตประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหาร ข้อกำหนดทางการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายและระเบียบระดับสากล
ความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร ระบบความปลอดภัย การสุขาภิบาลและวิธีการมาตรฐาน การวางผังโรงงานและออกแบบ การทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อโปรแกรมความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร การตรวจสอบความปลอดภัย การวิเคราะห์ความปลอดภัย การอบรมและรณรงค์ในการทำงาน
ความสำคัญของการควบคุมคุณภาพ หลักการควบคุมคุณภาพ ปัจจัยคุณภาพ การตรวจวัดคุณภาพอาหาร ระบบการควบคุมคุณภาพ สถิติในการควบคุมคุณภาพ การใช้ประสาทสัมผัสในการควบคุมคุณภาพ
หลักการคุณภาพ ความหมายและความสำคัญของคุณภาพ ระบบคุณภาพ การควบคุมคุณภาพและกราประกันคุณภาพ การตรวจจับคุณภาพทางกายภาพ เคมี และจุลชีววิทยา สถิติสำหรับการควบคุมคุณภาพ หลักการจัดองค์กรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพ มาตรฐานระบบคุณภาพ
3. ชุดวิชาระบบเครื่องจักรอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
ความสำคัญของปัญญาประดิษฐ์ในอุตสาหกรรม ภาพรวมและพัฒนาการของปัญญาประดิษฐ์ในปัจจุบัน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์และการพัฒนาเชิงกลยุทธิ์ในอุตสหกรรมอาหาร ข้อจำกัดและการจัดการความเสี่ยงของปัญญาประดิษฐ์ เป้าหมายการพัฒนาของโครงงานด้านปัญญาประดิษฐ์และการเรียนเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
แนะนำเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาโดยใช้เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ การเขียนโปรแกรมสำหรับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับงานในอุตสาหกรรมอาหาร เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ ได้แก่ การใช้เหตุผลในทางสัญลักษณ์เหตุผลทางสถิติ การวางแผน ปัญญาประดิษฐ์แบบขนานและแบบกระจาย เครือข่ายเบยส์เซียน การเรียนรู้โดยใช้ต้นไม้การตัดสินใจ โครงข่ายประสาทเทียม การประเมินสมมติฐาน การเรียนรู้เฉพาะหน้า วิธีเชิงพันธุกรรม การเรียนรู้แบบวิเคราะห์ การเรียนรู้แบบเสริมบังคับ
09-515-302
การออกแบบระบบอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
Design of Automation of Food Industry
Design of Automation of Food Industry
3(2-3-5)
ระบบอัตโนมัติกับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องจักรระบบเครื่องอัตโนมัติในอุตสาหกรรมอาหารเซนเซอร์ระบบสำหรับอัตโนมัติ อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมเครื่องจักรอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์และระบบไฟฟ้า การออกแบบการวางระบบอัตโนมัติเบื้องต้น
4. ชุดวิชาการจัดการและการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร
ขอบเขต ความหมาย บทบาทของการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร การจัดหาวัตถุดิบและกลยุทธิ์ การบริการลูกค้า การบริการสินค้าคงคลังและการคลังสินค้า การขนส่งสินค้าเกษตรและอาหาร เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หลักการวางแผนกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร วิธีการพยากรณ์กำลังคน การคำนวณต้นทุนของกำลังคน การวิเคราะห์งาน การสรรหาและคัดเลือกกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาบุคลากร การประเมินสมรรถนะ ระบบค่าแรงจูงใจ ความปลอดภัยในโรงงานอาหาร
เครื่องจักรในอุตสาหกรรมอาหาร ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของเครื่องจักรอุตสาหกรรมอาหาร การเสื่อมสภาพและการขัดข้องของเครื่องจักร การบำรุงรักษาระบบอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์ และระบบเซ็นเซอร์ การบำรุงรักษาเชิงวางแผน การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน การบำรุงรักษาทวีพล
ปี 3 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วยกิต
ตลาดของอุตสาหกรรมอาหาร หลักการและการวางแผนการตลาดเบื้องต้น กลยุทธิ์ทางการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร เทคนิคการตั้งราคา ตราสินค้าและการออกแบบกระบวนการสร้างตราสินค้าและกลยุทธิ์ธุรกิจสำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร การสื่อสาร การตลาดแบบบูรณาการเพื่อเพิ่มมูลค่าตราสินค่า การประเมินประสิทธิภาพตราสินค้า
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์และการจัดการเทคโนโลยีอาหาร ความสำคัญของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักการเขียนจดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการ หลักการสัมภาษณ์งานอาชีพ วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนาบุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน การประกันสังคม กิจกรรม 5 ส มาตรฐานการประกันคุณภาพและความปลอดภัยในการทำงาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การเขียนรายงาน การนำเสนอผลงาน ทักษะการวางแผน ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและการตัดสินใจ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสืบค้นข้อมูล
หมายเหตุ: การประเมินผลนักศึกษาให้ค่าระดับคะแนนเป็น พ.จ. หรือ S พอใจ (Satisfactory) ม.จ. หรือ U ไม่พอใจ (Unsatisfactory)
หมายเหตุ: การประเมินผลนักศึกษาให้ค่าระดับคะแนนเป็น พ.จ. หรือ S พอใจ (Satisfactory) ม.จ. หรือ U ไม่พอใจ (Unsatisfactory)
1. ชุดวิชาการพัฒนานวัตกรรมอาหารอนาคต
ความหมาย บทบาท และความสำคัญของอาหารเพื่อสุขภาพ แนวคิดการพัฒนาอาหารอนาคต อาหารเกษตรอินทรีย์ อาหารและเครื่องดื่มฟังก์ชัน อาหารทางการแพทย์ อาหารใหม่ที่เกิดจากนวัตกรรม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การกล่าวอ้างทางสุขภาพ
อาหารอนาคต หลักการการผลิตอาหารอนาคต เทคโนโลยีการผลิตแบบใช้และไม่ใช้ความร้อน เทคโนโลยีการหมักสมัยใหม่และเทคนิคทางชีวโมเลกุล เทคโนโลยีการสกัด เทคโนโลยีการทำให้เข้มข้นและทำให้เข้มข้นและทำให้บริสุทธิ์ เทคโนโลยีการทำให้เป็นผง
09-513-302
บรรจุภัณฑ์และการออกแบบสำหรับอาหารอนาคต
Food Packaging and Design for Future Foods
Food Packaging and Design for Future Foods
3(2-3-5)
หลักการ ความสำคัญ และหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์อาหาร ความปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์อาหารอาหาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีการบรรจุภัณฑ์อาหาร บรรจุภัณฑ์สำหรับไมโครเวฟ บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การทดสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์อาหาร การหาอายุการเก็บของอาหารในบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหารอนาคต
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร สถิติและการวางแผนการทดลองสำหรับอาหารอนาคตเทคนิคและวิธีการพัฒนาสำหรับนวัตกรรมอาหารอนาคต การวิเคราะห์และสรุปผล การวางแผนและต้นทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
2. ชุดวิชาอาหารปลอดภัยและการควบคุมระบบประกันคุณภาพ
ความสำคัญของกฎหมาย ข้อกำหนดในอุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานของอาหารระดับประเทศและสากล พระราชบัญญัติอาหาร กฎหมายควบคุมการประกอบการกิจการโรงงานอุตสาหกรรม การจดทะเบียนอาหาร การแสดงฉากและการโฆษณาอาหารกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การขออนุญาตประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหาร ข้อกำหนดทางการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายและระเบียบระดับสากล
ความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร ระบบความปลอดภัย การสุขาภิบาลและวิธีการมาตรฐาน การวางผังโรงงานและออกแบบ การทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อโปรแกรมความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร การตรวจสอบความปลอดภัย การวิเคราะห์ความปลอดภัย การอบรมและรณรงค์ในการทำงาน
ความสำคัญของการควบคุมคุณภาพ หลักการควบคุมคุณภาพ ปัจจัยคุณภาพ การตรวจวัดคุณภาพอาหาร ระบบการควบคุมคุณภาพ สถิติในการควบคุมคุณภาพ การใช้ประสาทสัมผัสในการควบคุมคุณภาพ
หลักการคุณภาพ ความหมายและความสำคัญของคุณภาพ ระบบคุณภาพ การควบคุมคุณภาพและกราประกันคุณภาพ การตรวจจับคุณภาพทางกายภาพ เคมี และจุลชีววิทยา สถิติสำหรับการควบคุมคุณภาพ หลักการจัดองค์กรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพ มาตรฐานระบบคุณภาพ
3. ชุดวิชาระบบเครื่องจักรอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
ความสำคัญของปัญญาประดิษฐ์ในอุตสาหกรรม ภาพรวมและพัฒนาการของปัญญาประดิษฐ์ในปัจจุบัน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์และการพัฒนาเชิงกลยุทธิ์ในอุตสหกรรมอาหาร ข้อจำกัดและการจัดการความเสี่ยงของปัญญาประดิษฐ์ เป้าหมายการพัฒนาของโครงงานด้านปัญญาประดิษฐ์และการเรียนเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
แนะนำเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาโดยใช้เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ การเขียนโปรแกรมสำหรับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับงานในอุตสาหกรรมอาหาร เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ ได้แก่ การใช้เหตุผลในทางสัญลักษณ์เหตุผลทางสถิติ การวางแผน ปัญญาประดิษฐ์แบบขนานและแบบกระจาย เครือข่ายเบยส์เซียน การเรียนรู้โดยใช้ต้นไม้การตัดสินใจ โครงข่ายประสาทเทียม การประเมินสมมติฐาน การเรียนรู้เฉพาะหน้า วิธีเชิงพันธุกรรม การเรียนรู้แบบวิเคราะห์ การเรียนรู้แบบเสริมบังคับ
09-515-302
การออกแบบระบบอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
Design of Automation of Food Industry
Design of Automation of Food Industry
3(2-3-5)
ระบบอัตโนมัติกับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องจักรระบบเครื่องอัตโนมัติในอุตสาหกรรมอาหารเซนเซอร์ระบบสำหรับอัตโนมัติ อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมเครื่องจักรอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์และระบบไฟฟ้า การออกแบบการวางระบบอัตโนมัติเบื้องต้น
เครื่องจักรในอุตสาหกรรมอาหาร ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของเครื่องจักรอุตสาหกรรมอาหาร การเสื่อมสภาพและการขัดข้องของเครื่องจักร การบำรุงรักษาระบบอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์ และระบบเซ็นเซอร์ การบำรุงรักษาเชิงวางแผน การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน การบำรุงรักษาทวีพล
4. ชุดวิชาการจัดการและการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร
ขอบเขต ความหมาย บทบาทของการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร การจัดหาวัตถุดิบและกลยุทธิ์ การบริการลูกค้า การบริการสินค้าคงคลังและการคลังสินค้า การขนส่งสินค้าเกษตรและอาหาร เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หลักการวางแผนกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร วิธีการพยากรณ์กำลังคน การคำนวณต้นทุนของกำลังคน การวิเคราะห์งาน การสรรหาและคัดเลือกกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาบุคลากร การประเมินสมรรถนะ ระบบค่าแรงจูงใจ ความปลอดภัยในโรงงานอาหาร
แผนการเรียนปี 3 สำหรับนักศึกษาที่เลือกรายวิชาฝึกงาน
ปี 3 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วยกิต
แนวโน้มและแนวคิดในการทำธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการองค์การ การตลาด การจัดการด้านการเงิน การเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ การจัดทำแบบจำลองธุรกิจ
เลือกจากรายวิชาภาษา
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการบอกข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน ความสนใจ การสนทนาสั้นๆ ในสถานการณ์ต่าง ๆ การเขียนข้อความสั้น ๆ การฟังและอ่านข้อความสั้น ๆ จากสื่อต่าง ๆ
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล การสนทนาอย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ การฟังและการอ่านเนื้อหาในเรื่องที่เกี่ยวข้องจากสื่อ
คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างภาษาในการสนทนาตามสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาในการนำเสนองานในแต่ละขั้นตอน การใช้วจนภาษาและ อวจนภาษา การใช้สื่อประกอบการนำเสนองาน การนำเสนอเชิงสถิติ การตั้งคำถามและการตอบคำถามระหว่างนำเสนอ
การเขียนประโยค การเขียนย่อหน้า การกรอกแบบฟอร์ม การเขียนบันทึกส่วนตัว การเขียนจดหมายส่วนตัว การจัดข้อความโดยย่อจาการอ่านและการฟัง
ทักษะการฟังและการพูดในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน เน้นการออกเสียงที่ถูกต้อง ความสามารถในการถ่ายทอดความต้องการเป็นภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์จำลองได้
บทสนทนาภาษาญี่ปุ่นในรูปแบบต่าง ๆ โดยอาศัยสถานการณ์จำลองจากสถานการณ์จริงที่ผู้เรียนจะต้องพบในชีวิตประจำวัน โดยฝึกฝนให้สามารถใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว เมื่อขำนาญขึ้น สามารถนำคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ มาประกอบเพื่อขยายขอบเขตของบทสนทนาให้กว้างต่อไป
วิชาบังคับก่อน : 09-512-206 แนวคิดในการประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหาร
การวิเคราะห์แนวโน้มของอุตสาหกรรมอาหาร (ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และการบริการ) การวิเคราะห์ตลาดของอุตสาหกรรมอาหาร การวิเคราะห์โมเดลธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหาร การออกแบบโครงสร้างต้นทุน การนำเสนอแนวคิดนวัตกรรมในอุตสาหกรรมอาหารของนักศึกษา
การวิเคราะห์แนวโน้มของอุตสาหกรรมอาหาร (ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และการบริการ) การวิเคราะห์ตลาดของอุตสาหกรรมอาหาร การวิเคราะห์โมเดลธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหาร การออกแบบโครงสร้างต้นทุน การนำเสนอแนวคิดนวัตกรรมในอุตสาหกรรมอาหารของนักศึกษา
บทบาท ความหมาย และความสำคัญของธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารขนาดกลางและขนาดย่อม แนวคิดในการประกอบธุรกิจ การวิเคราะห์แนวโน้ม โอกาสทางธุรกิจ และกลยุทธิ์ในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร แนวทางการจัดตั้งธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารขนาดกลางและขนาดย่อม การจัดการตลาด การจัดหาเงินทุนและการระดมทุน การบริหารการเงินและการบัญชี การผลิตและการดำเนินการ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การบริหารความเสี่ยง ธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารเชิงนวัตกรรม แผนธุรกิจเชิงนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
1. ชุดวิชาการพัฒนานวัตกรรมอาหารอนาคต
ความหมาย บทบาท และความสำคัญของอาหารเพื่อสุขภาพ แนวคิดการพัฒนาอาหารอนาคต อาหารเกษตรอินทรีย์ อาหารและเครื่องดื่มฟังก์ชัน อาหารทางการแพทย์ อาหารใหม่ที่เกิดจากนวัตกรรม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การกล่าวอ้างทางสุขภาพ
อาหารอนาคต หลักการการผลิตอาหารอนาคต เทคโนโลยีการผลิตแบบใช้และไม่ใช้ความร้อน เทคโนโลยีการหมักสมัยใหม่และเทคนิคทางชีวโมเลกุล เทคโนโลยีการสกัด เทคโนโลยีการทำให้เข้มข้นและทำให้เข้มข้นและทำให้บริสุทธิ์ เทคโนโลยีการทำให้เป็นผง
09-513-302
บรรจุภัณฑ์และการออกแบบสำหรับอาหารอนาคต
Food Packaging and Design for Future Foods
Food Packaging and Design for Future Foods
3(2-3-5)
หลักการ ความสำคัญ และหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์อาหาร ความปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์อาหารอาหาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีการบรรจุภัณฑ์อาหาร บรรจุภัณฑ์สำหรับไมโครเวฟ บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การทดสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์อาหาร การหาอายุการเก็บของอาหารในบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหารอนาคต
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร สถิติและการวางแผนการทดลองสำหรับอาหารอนาคตเทคนิคและวิธีการพัฒนาสำหรับนวัตกรรมอาหารอนาคต การวิเคราะห์และสรุปผล การวางแผนและต้นทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
2. ชุดวิชาอาหารปลอดภัยและการควบคุมระบบประกันคุณภาพ
ความสำคัญของกฎหมาย ข้อกำหนดในอุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานของอาหารระดับประเทศและสากล พระราชบัญญัติอาหาร กฎหมายควบคุมการประกอบการกิจการโรงงานอุตสาหกรรม การจดทะเบียนอาหาร การแสดงฉากและการโฆษณาอาหารกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การขออนุญาตประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหาร ข้อกำหนดทางการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายและระเบียบระดับสากล
ความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร ระบบความปลอดภัย การสุขาภิบาลและวิธีการมาตรฐาน การวางผังโรงงานและออกแบบ การทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อโปรแกรมความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร การตรวจสอบความปลอดภัย การวิเคราะห์ความปลอดภัย การอบรมและรณรงค์ในการทำงาน
ความสำคัญของการควบคุมคุณภาพ หลักการควบคุมคุณภาพ ปัจจัยคุณภาพ การตรวจวัดคุณภาพอาหาร ระบบการควบคุมคุณภาพ สถิติในการควบคุมคุณภาพ การใช้ประสาทสัมผัสในการควบคุมคุณภาพ
หลักการคุณภาพ ความหมายและความสำคัญของคุณภาพ ระบบคุณภาพ การควบคุมคุณภาพและกราประกันคุณภาพ การตรวจจับคุณภาพทางกายภาพ เคมี และจุลชีววิทยา สถิติสำหรับการควบคุมคุณภาพ หลักการจัดองค์กรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพ มาตรฐานระบบคุณภาพ
3. ชุดวิชาระบบเครื่องจักรอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
ความสำคัญของปัญญาประดิษฐ์ในอุตสาหกรรม ภาพรวมและพัฒนาการของปัญญาประดิษฐ์ในปัจจุบัน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์และการพัฒนาเชิงกลยุทธิ์ในอุตสหกรรมอาหาร ข้อจำกัดและการจัดการความเสี่ยงของปัญญาประดิษฐ์ เป้าหมายการพัฒนาของโครงงานด้านปัญญาประดิษฐ์และการเรียนเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
แนะนำเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาโดยใช้เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ การเขียนโปรแกรมสำหรับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับงานในอุตสาหกรรมอาหาร เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ ได้แก่ การใช้เหตุผลในทางสัญลักษณ์เหตุผลทางสถิติ การวางแผน ปัญญาประดิษฐ์แบบขนานและแบบกระจาย เครือข่ายเบยส์เซียน การเรียนรู้โดยใช้ต้นไม้การตัดสินใจ โครงข่ายประสาทเทียม การประเมินสมมติฐาน การเรียนรู้เฉพาะหน้า วิธีเชิงพันธุกรรม การเรียนรู้แบบวิเคราะห์ การเรียนรู้แบบเสริมบังคับ
09-515-302
การออกแบบระบบอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
Design of Automation of Food Industry
Design of Automation of Food Industry
3(2-3-5)
ระบบอัตโนมัติกับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องจักรระบบเครื่องอัตโนมัติในอุตสาหกรรมอาหารเซนเซอร์ระบบสำหรับอัตโนมัติ อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมเครื่องจักรอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์และระบบไฟฟ้า การออกแบบการวางระบบอัตโนมัติเบื้องต้น
เครื่องจักรในอุตสาหกรรมอาหาร ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของเครื่องจักรอุตสาหกรรมอาหาร การเสื่อมสภาพและการขัดข้องของเครื่องจักร การบำรุงรักษาระบบอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์ และระบบเซ็นเซอร์ การบำรุงรักษาเชิงวางแผน การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน การบำรุงรักษาทวีพล
4. ชุดวิชาการจัดการและการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร
ขอบเขต ความหมาย บทบาทของการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร การจัดหาวัตถุดิบและกลยุทธิ์ การบริการลูกค้า การบริการสินค้าคงคลังและการคลังสินค้า การขนส่งสินค้าเกษตรและอาหาร เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หลักการวางแผนกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร วิธีการพยากรณ์กำลังคน การคำนวณต้นทุนของกำลังคน การวิเคราะห์งาน การสรรหาและคัดเลือกกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาบุคลากร การประเมินสมรรถนะ ระบบค่าแรงจูงใจ ความปลอดภัยในโรงงานอาหาร
ปี 3 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วยกิต
ตลาดของอุตสาหกรรมอาหาร หลักการและการวางแผนการตลาดเบื้องต้น กลยุทธิ์ทางการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร เทคนิคการตั้งราคา ตราสินค้าและการออกแบบกระบวนการสร้างตราสินค้าและกลยุทธิ์ธุรกิจสำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร การสื่อสาร การตลาดแบบบูรณาการเพื่อเพิ่มมูลค่าตราสินค่า การประเมินประสิทธิภาพตราสินค้า
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์และการจัดการเทคโนโลยีอาหาร ความสำคัญของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักการเขียนจดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการ หลักการสัมภาษณ์งานอาชีพ วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนาบุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน การประกันสังคม กิจกรรม 5 ส มาตรฐานการประกันคุณภาพและความปลอดภัยในการทำงาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การเขียนรายงาน การนำเสนอผลงาน ทักษะการวางแผน ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและการตัดสินใจ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสืบค้นข้อมูล
หมายเหตุ: การประเมินผลนักศึกษาให้ค่าระดับคะแนนเป็น พ.จ. หรือ S พอใจ (Satisfactory) ม.จ. หรือ U ไม่พอใจ (Unsatisfactory)
หมายเหตุ: การประเมินผลนักศึกษาให้ค่าระดับคะแนนเป็น พ.จ. หรือ S พอใจ (Satisfactory) ม.จ. หรือ U ไม่พอใจ (Unsatisfactory)
1. ชุดวิชาการพัฒนานวัตกรรมอาหารอนาคต
ความหมาย บทบาท และความสำคัญของอาหารเพื่อสุขภาพ แนวคิดการพัฒนาอาหารอนาคต อาหารเกษตรอินทรีย์ อาหารและเครื่องดื่มฟังก์ชัน อาหารทางการแพทย์ อาหารใหม่ที่เกิดจากนวัตกรรม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การกล่าวอ้างทางสุขภาพ
อาหารอนาคต หลักการการผลิตอาหารอนาคต เทคโนโลยีการผลิตแบบใช้และไม่ใช้ความร้อน เทคโนโลยีการหมักสมัยใหม่และเทคนิคทางชีวโมเลกุล เทคโนโลยีการสกัด เทคโนโลยีการทำให้เข้มข้นและทำให้เข้มข้นและทำให้บริสุทธิ์ เทคโนโลยีการทำให้เป็นผง
09-513-302
บรรจุภัณฑ์และการออกแบบสำหรับอาหารอนาคต
Food Packaging and Design for Future Foods
Food Packaging and Design for Future Foods
3(2-3-5)
หลักการ ความสำคัญ และหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์อาหาร ความปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์อาหารอาหาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีการบรรจุภัณฑ์อาหาร บรรจุภัณฑ์สำหรับไมโครเวฟ บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การทดสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์อาหาร การหาอายุการเก็บของอาหารในบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหารอนาคต
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร สถิติและการวางแผนการทดลองสำหรับอาหารอนาคตเทคนิคและวิธีการพัฒนาสำหรับนวัตกรรมอาหารอนาคต การวิเคราะห์และสรุปผล การวางแผนและต้นทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
2. ชุดวิชาอาหารปลอดภัยและการควบคุมระบบประกันคุณภาพ
ความสำคัญของกฎหมาย ข้อกำหนดในอุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานของอาหารระดับประเทศและสากล พระราชบัญญัติอาหาร กฎหมายควบคุมการประกอบการกิจการโรงงานอุตสาหกรรม การจดทะเบียนอาหาร การแสดงฉากและการโฆษณาอาหารกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การขออนุญาตประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหาร ข้อกำหนดทางการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายและระเบียบระดับสากล
ความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร ระบบความปลอดภัย การสุขาภิบาลและวิธีการมาตรฐาน การวางผังโรงงานและออกแบบ การทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อโปรแกรมความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร การตรวจสอบความปลอดภัย การวิเคราะห์ความปลอดภัย การอบรมและรณรงค์ในการทำงาน
ความสำคัญของการควบคุมคุณภาพ หลักการควบคุมคุณภาพ ปัจจัยคุณภาพ การตรวจวัดคุณภาพอาหาร ระบบการควบคุมคุณภาพ สถิติในการควบคุมคุณภาพ การใช้ประสาทสัมผัสในการควบคุมคุณภาพ
หลักการคุณภาพ ความหมายและความสำคัญของคุณภาพ ระบบคุณภาพ การควบคุมคุณภาพและกราประกันคุณภาพ การตรวจจับคุณภาพทางกายภาพ เคมี และจุลชีววิทยา สถิติสำหรับการควบคุมคุณภาพ หลักการจัดองค์กรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพ มาตรฐานระบบคุณภาพ
3. ชุดวิชาระบบเครื่องจักรอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
ความสำคัญของปัญญาประดิษฐ์ในอุตสาหกรรม ภาพรวมและพัฒนาการของปัญญาประดิษฐ์ในปัจจุบัน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์และการพัฒนาเชิงกลยุทธิ์ในอุตสหกรรมอาหาร ข้อจำกัดและการจัดการความเสี่ยงของปัญญาประดิษฐ์ เป้าหมายการพัฒนาของโครงงานด้านปัญญาประดิษฐ์และการเรียนเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
แนะนำเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาโดยใช้เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ การเขียนโปรแกรมสำหรับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับงานในอุตสาหกรรมอาหาร เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ ได้แก่ การใช้เหตุผลในทางสัญลักษณ์เหตุผลทางสถิติ การวางแผน ปัญญาประดิษฐ์แบบขนานและแบบกระจาย เครือข่ายเบยส์เซียน การเรียนรู้โดยใช้ต้นไม้การตัดสินใจ โครงข่ายประสาทเทียม การประเมินสมมติฐาน การเรียนรู้เฉพาะหน้า วิธีเชิงพันธุกรรม การเรียนรู้แบบวิเคราะห์ การเรียนรู้แบบเสริมบังคับ
09-515-302
การออกแบบระบบอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
Design of Automation of Food Industry
Design of Automation of Food Industry
3(2-3-5)
ระบบอัตโนมัติกับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องจักรระบบเครื่องอัตโนมัติในอุตสาหกรรมอาหารเซนเซอร์ระบบสำหรับอัตโนมัติ อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมเครื่องจักรอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์และระบบไฟฟ้า การออกแบบการวางระบบอัตโนมัติเบื้องต้น
เครื่องจักรในอุตสาหกรรมอาหาร ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของเครื่องจักรอุตสาหกรรมอาหาร การเสื่อมสภาพและการขัดข้องของเครื่องจักร การบำรุงรักษาระบบอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์ และระบบเซ็นเซอร์ การบำรุงรักษาเชิงวางแผน การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน การบำรุงรักษาทวีพล
4. ชุดวิชาการจัดการและการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร
ขอบเขต ความหมาย บทบาทของการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร การจัดหาวัตถุดิบและกลยุทธิ์ การบริการลูกค้า การบริการสินค้าคงคลังและการคลังสินค้า การขนส่งสินค้าเกษตรและอาหาร เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หลักการวางแผนกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร วิธีการพยากรณ์กำลังคน การคำนวณต้นทุนของกำลังคน การวิเคราะห์งาน การสรรหาและคัดเลือกกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาบุคลากร การประเมินสมรรถนะ ระบบค่าแรงจูงใจ ความปลอดภัยในโรงงานอาหาร
ปี 3 ภาคการศึกษาฤดูร้อน
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วยกิต
วิชาบังคับก่อน : 09-517-301 การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และ
การจัดการเทคโนโลยีอาหาร
ฝึกปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ หรือรัฐบาล ทางด้านที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของนักศึกษาอย่างเป็นระบบ เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ทำให้เกิดประสบการณ์จากการทำงานก่อนสำเร็จการศึกษา
หมายเหตุ: การประเมินผลนักศึกษาให้ค่าระดับคะแนนเป็น พ.จ. หรือ S พอใจ (Satisfactory) ม.จ. หรือ U ไม่พอใจ (Unsatisfactory)
ฝึกปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ หรือรัฐบาล ทางด้านที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของนักศึกษาอย่างเป็นระบบ เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ทำให้เกิดประสบการณ์จากการทำงานก่อนสำเร็จการศึกษา
หมายเหตุ: การประเมินผลนักศึกษาให้ค่าระดับคะแนนเป็น พ.จ. หรือ S พอใจ (Satisfactory) ม.จ. หรือ U ไม่พอใจ (Unsatisfactory)
หรือ
วิชาบังคับก่อน : 09-517-301 การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และ
การจัดการเทคโนโลยีอาหาร
ฝึกปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ หรือรัฐบาล ทางด้านที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของนักศึกษาอย่างเป็นระบบ เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ทำให้เกิดประสบการณ์จากการทำงานก่อนสำเร็จการศึกษา
หมายเหตุ: การประเมินผลนักศึกษาให้ค่าระดับคะแนนเป็น พ.จ. หรือ S พอใจ (Satisfactory) ม.จ. หรือ U ไม่พอใจ (Unsatisfactory)
ฝึกปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ หรือรัฐบาล ทางด้านที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของนักศึกษาอย่างเป็นระบบ เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ทำให้เกิดประสบการณ์จากการทำงานก่อนสำเร็จการศึกษา
หมายเหตุ: การประเมินผลนักศึกษาให้ค่าระดับคะแนนเป็น พ.จ. หรือ S พอใจ (Satisfactory) ม.จ. หรือ U ไม่พอใจ (Unsatisfactory)