แผนการเรียนปี 2 สำหรับนักศึกษาที่เลือกรายวิชาสหกิจศึกษา
ปี 2 เทอม 1
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วยกิต
วิธีปฏิบัติตนเพื่อเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
มีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย การปลูกฝังจิตสำนึกรับผิดชอบ
การแบ่งปันและช่วยเหลือสังคม การตระหนักและมีวิสัยทัศน์ที่ดีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
กระบวนการคิดเชิงออกแบบที่มุ่งเน้นการเข้าใจผู้ใช้
การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์
สร้างไอเดียที่หลากหลาย สร้างตัวต้นแบบเพื่อทดลองและทดสอบความคิดทางนวัตกรรมที่เกิดขึ้น
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล
การสนทนาอย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ
การฟังและการอ่านเนื้อหาในเรื่องที่เกี่ยวข้องจากสื่อ
เลือกจากรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์ใช้โปรแกรมสำนักงาน ได้แก่
โปรแกรมประมวลผลคำ
การใช้โปรแกรมตารางคำนวณ การใช้โปรแกรมนำเสนอ
การใช้อินเทอร์เน็ตและการสื่อสารสังคมออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล จดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร
การท่องเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับออนไลน์
ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสื่อประสมประเภทข้อความ ภาพนิ่ง เสียง
ภาพเคลื่อนไหวและวิดีโอ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมจัดการสื่อประสม เช่น
โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบราสเตอร์ โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์
โปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ โปรแกรมตัดต่อภาพวิดีโอ
โปรแกรมแปลงไฟล์ภาพและวิดีโอ โปรแกรมนำเสนอผลงานสื่อประสม
และการเผยแพร่ผลงานสื่อประสมบนอินเทอร์เน็ต
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการตัดสินใจ
การใช้งานโปรแกรมประยุกต์หรือระบบเทคโนโลยีสานสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เช่น
โปรแกรมตารางคำนวณขั้นสูง โปรแกรมทางสถิติและความน่าจะเป็น
ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
โปรแกรมนำเสนอข้อมูลในรูปแบบกราฟิก
รวมถึงเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการจัดการข้อมูล ส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน
เพื่อนำเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อุปสงค์และอุปทานของสินค้าเกษตรและอาหาร โครงสร้างต้นทุนและหลักการบัญชีสูตรดอกเบี้ย
ค่าของเงินตามเวลา ตลาดและการกำหนดราคาของสินค้าอาหาร
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์เพื่อการตัดสินใจในการลงทุนด้านอุตสาหกรรมอาหาร
การวิเคราะห์การทดแทน การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ค่าเสื่อมราคาและการพิจารณาภาษีเงินได้
การใช้จุลินทรีย์ในอุตสาหกรรมอาหาร
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการตายของจุลินทรีย์ในกระบวนการของอุตสาหกรรมอาหาร
การเน่าเสียจากจุลินทรีย์ในอาหาร จุลินทรีย์ก่อโรคในอาหาร การควบคุมจุลินทรีย์ในอาหาร
เทคนิคการตรวจหาจุลินทรีย์ในอาหารสำหรับอุตสหกรรมอาหารสมัยใหม่
สุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยของอาหาร
หลักการและเครื่องมือในการแปรรูปอาหาร การแช่เย็น การแช่แข็ง การหมัก การทำให้เข้มข้น
การรมควัน
การแปรรูปขั้นต่ำ เฮอเดิลเทคโนโลยี การใช้วัตถุเจือปนอาหาร เทคโนโลยีใหม่ในการแปรรูปอาหาร
ปัจจัยการแปรรูปต่อคุณภาพและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ บรรจุ กระบวนการปลอดเชื้อ
การประเมินอายุการเก็บรักษาของอาหารเทคโนโลยีสะอาด
ผลิตผลพลอยได้และการใช้ประโยชน์จากของเสีย การศึกษาดูงานนอกสถานที่
เลือกจากรายวิชาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และนวัตกรรม
Basic Statistics for Innovation
ความหมายและบทบาทของสถิติในการพัฒนานวัตกรรม
การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องสำหรับการพัฒนานวัตกรรม
เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือเพื่อหาประสิทธิภาพนวัตกรรม
การตรวจสอบประสิทธิภาพนวัตกรรม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หลักการและกระบวนการของเทคโนโลยีสีเขียว การประเมินวัฏจักรชีวิต
การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ
กรณีศึกษาการบริหารจัดการและการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมง
ความรู้พื้นฐานด้านพลังงานทดแทนและเทคโนโลยีใกล้ตัว
แหล่งที่มาพลังงานทดแทนสถานการณ์พลังงานทดแทน
เทคโนโลยีและการบริโภคพลังงานทดแทน ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม
การจัดการของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตพลังงานทดแทน
การอนุรักษ์พลังงานอย่างมีส่วนร่วม การปลูกจิตสำนึกการใช้พลังงานอย่างฉลาด
การเตรียมความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงด้านพลังงาน
ปี 2 เทอม 2
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วยกิต
เลือกจากรายวิชาภาษา
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการบอกข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน
ความสนใจ
การสนทนาสั้นๆ ในสถานการณ์ต่าง ๆ การเขียนข้อความสั้น ๆ
การฟังและอ่านข้อความสั้น ๆ จากสื่อต่าง ๆ
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล
การสนทนาอย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ
การฟังและการอ่านเนื้อหาในเรื่องที่เกี่ยวข้องจากสื่อ
คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างภาษาในการสนทนาตามสถานการณ์ต่าง ๆ
ที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาในการนำเสนองานในแต่ละขั้นตอน การใช้วจนภาษาและ
อวจนภาษา การใช้สื่อประกอบการนำเสนองาน การนำเสนอเชิงสถิติ
การตั้งคำถามและการตอบคำถามระหว่างนำเสนอ
การเขียนประโยค การเขียนย่อหน้า การกรอกแบบฟอร์ม การเขียนบันทึกส่วนตัว
การเขียนจดหมายส่วนตัว การจัดข้อความโดยย่อจาการอ่านและการฟัง
ทักษะการฟังและการพูดในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
เน้นการออกเสียงที่ถูกต้อง
ความสามารถในการถ่ายทอดความต้องการเป็นภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์จำลองได้
บทสนทนาภาษาญี่ปุ่นในรูปแบบต่าง ๆ
โดยอาศัยสถานการณ์จำลองจากสถานการณ์จริงที่ผู้เรียนจะต้องพบในชีวิตประจำวัน
โดยฝึกฝนให้สามารถใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว เมื่อขำนาญขึ้น
สามารถนำคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
มาประกอบเพื่อขยายขอบเขตของบทสนทนาให้กว้างต่อไป
ความรู้พื้นฐานของชีวเคมี โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล เอนไซม์และการทำงานของเอนไซม์
การสังเคราะห์โปรตีน ยีนและการควบคุม การทำงานของยีน เมแทบอลิซึม
และชีวพลังงานของสารชีวโมเลกุล การประยุกต์ทางชีวเคมีสื่อ
สถิติพรรณนา การทดสอบสมมติฐานกรณีหนึ่งประชากร การทดสอบสมมติฐานกรณีสองประชากร
แนวความคิดเกี่ยวกับแผนแบบการทดลอง แผนแบบสุ่มสมบูรณ์ การเปรียบเทียบพหุคูณ
แผนแบบบล็อกสมบูรณ์เชิงสุ่ม แผนแบบจัตุรัสละติน แผนแบบแฟกทอเรียล
การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและการประยุกต์ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ
องค์ประกอบและคุณสมบัติทางเคมีของอาหาร น้ำ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่
และรงควัตถุ การวอเคราะห์องค์ประกอบของอาหาร
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีและชีวเคมีขององค์ประกอบอาหาร กลไกของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในอาหาร
เคมีของสารปรุงแต่ง สี กลิ่น และรสในอาหาร
ความรู้และหลักการพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม หน่วยและมิติ การสกัด การผสม การคัดแยก การลดขนาด
การกลั่น การระเหย การกรอง การดันผ่านเกลียวอัด กลศาสตร์ของไหล เครื่องกำเนิดไอน้ำ
ระบบการทำความเย็น แผนภูมิความชื้น สมดุลมวลสาร สมดุลพลังงาน การถ่ายโอนความร้อน
และการถ่ายโอนมวล
แนวโน้มของอุตสาหกรรมอาหาร ห่วงโซ่คุณค่าในอุตสาหกรรมอาหาร ธุรกิจเกิดใหม่ในอุตสาหกรรมอาหาร
นวัตกรรมอุตสาหกรรมอาหาร ความเป็นผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหาร กฎหมายอาหาร
ข้อบังคับอาหาร การนำเสนอแนวคิดในการประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหารของนักศึกษา
1. ชุดวิชาการพัฒนานวัตกรรมอาหารอนาคต
ความหมาย บทบาท และความสำคัญของอาหารเพื่อสุขภาพ แนวคิดการพัฒนาอาหารอนาคต
อาหารเกษตรอินทรีย์ อาหารและเครื่องดื่มฟังก์ชัน อาหารทางการแพทย์
อาหารใหม่ที่เกิดจากนวัตกรรม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การกล่าวอ้างทางสุขภาพ
อาหารอนาคต หลักการการผลิตอาหารอนาคต เทคโนโลยีการผลิตแบบใช้และไม่ใช้ความร้อน
เทคโนโลยีการหมักสมัยใหม่และเทคนิคทางชีวโมเลกุล เทคโนโลยีการสกัด
เทคโนโลยีการทำให้เข้มข้นและทำให้เข้มข้นและทำให้บริสุทธิ์
เทคโนโลยีการทำให้เป็นผง
09-513-302
บรรจุภัณฑ์และการออกแบบสำหรับอาหารอนาคต
Food Packaging and Design for Future Foods
Food Packaging and Design for Future Foods
3(2-3-5)
หลักการ ความสำคัญ และหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์อาหาร
ความปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์อาหารอาหาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์อาหาร
เทคโนโลยีการบรรจุภัณฑ์อาหาร บรรจุภัณฑ์สำหรับไมโครเวฟ บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การทดสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์อาหาร
การหาอายุการเก็บของอาหารในบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหารอนาคต
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
สถิติและการวางแผนการทดลองสำหรับอาหารอนาคตเทคนิคและวิธีการพัฒนาสำหรับนวัตกรรมอาหารอนาคต
การวิเคราะห์และสรุปผล การวางแผนและต้นทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
2. ชุดวิชาอาหารปลอดภัยและการควบคุมระบบประกันคุณภาพ
ความสำคัญของกฎหมาย ข้อกำหนดในอุตสาหกรรมอาหาร
มาตรฐานของอาหารระดับประเทศและสากล พระราชบัญญัติอาหาร
กฎหมายควบคุมการประกอบการกิจการโรงงานอุตสาหกรรม การจดทะเบียนอาหาร
การแสดงฉากและการโฆษณาอาหารกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การขออนุญาตประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหาร ข้อกำหนดทางการค้าระหว่างประเทศ
กฎหมายและระเบียบระดับสากล
ความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร ระบบความปลอดภัย การสุขาภิบาลและวิธีการมาตรฐาน
การวางผังโรงงานและออกแบบ
การทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อโปรแกรมความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร
การตรวจสอบความปลอดภัย การวิเคราะห์ความปลอดภัย การอบรมและรณรงค์ในการทำงาน
ความสำคัญของการควบคุมคุณภาพ หลักการควบคุมคุณภาพ ปัจจัยคุณภาพ
การตรวจวัดคุณภาพอาหาร ระบบการควบคุมคุณภาพ สถิติในการควบคุมคุณภาพ
การใช้ประสาทสัมผัสในการควบคุมคุณภาพ
หลักการคุณภาพ ความหมายและความสำคัญของคุณภาพ ระบบคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพและกราประกันคุณภาพ การตรวจจับคุณภาพทางกายภาพ เคมี
และจุลชีววิทยา สถิติสำหรับการควบคุมคุณภาพ
หลักการจัดองค์กรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพ มาตรฐานระบบคุณภาพ
3. ชุดวิชาระบบเครื่องจักรอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
ความสำคัญของปัญญาประดิษฐ์ในอุตสาหกรรม
ภาพรวมและพัฒนาการของปัญญาประดิษฐ์ในปัจจุบัน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์และการพัฒนาเชิงกลยุทธิ์ในอุตสหกรรมอาหาร
ข้อจำกัดและการจัดการความเสี่ยงของปัญญาประดิษฐ์
เป้าหมายการพัฒนาของโครงงานด้านปัญญาประดิษฐ์และการเรียนเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
แนะนำเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาโดยใช้เทคนิคปัญญาประดิษฐ์
การเขียนโปรแกรมสำหรับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับงานในอุตสาหกรรมอาหาร
เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ ได้แก่ การใช้เหตุผลในทางสัญลักษณ์เหตุผลทางสถิติ
การวางแผน ปัญญาประดิษฐ์แบบขนานและแบบกระจาย เครือข่ายเบยส์เซียน
การเรียนรู้โดยใช้ต้นไม้การตัดสินใจ โครงข่ายประสาทเทียม การประเมินสมมติฐาน
การเรียนรู้เฉพาะหน้า วิธีเชิงพันธุกรรม การเรียนรู้แบบวิเคราะห์
การเรียนรู้แบบเสริมบังคับ
09-515-302
การออกแบบระบบอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
Design of Automation of Food Industry
Design of Automation of Food Industry
3(2-3-5)
ระบบอัตโนมัติกับอุตสาหกรรมอาหาร
เครื่องจักรระบบเครื่องอัตโนมัติในอุตสาหกรรมอาหารเซนเซอร์ระบบสำหรับอัตโนมัติ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมเครื่องจักรอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์
ระบบไฮดรอลิกส์และระบบไฟฟ้า การออกแบบการวางระบบอัตโนมัติเบื้องต้น
เครื่องจักรในอุตสาหกรรมอาหาร
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของเครื่องจักรอุตสาหกรรมอาหาร
การเสื่อมสภาพและการขัดข้องของเครื่องจักร การบำรุงรักษาระบบอัตโนมัติ
ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์ และระบบเซ็นเซอร์ การบำรุงรักษาเชิงวางแผน
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน การบำรุงรักษาทวีพล
4. ชุดวิชาการจัดการและการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร
ขอบเขต ความหมาย บทบาทของการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดหาวัตถุดิบและกลยุทธิ์ การบริการลูกค้า
การบริการสินค้าคงคลังและการคลังสินค้า การขนส่งสินค้าเกษตรและอาหาร
เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร
ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หลักการวางแผนกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร วิธีการพยากรณ์กำลังคน
การคำนวณต้นทุนของกำลังคน การวิเคราะห์งาน
การสรรหาและคัดเลือกกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาบุคลากร
การประเมินสมรรถนะ ระบบค่าแรงจูงใจ ความปลอดภัยในโรงงานอาหาร
ทรัพยากรข้อมูล หลักการและโครงสร้างของระบบสารสนเทศ
บทบาทของสารสนเทศในอุตสาหกรรมอาหาร การจัดการทรัพยากรข้อมูล
การใช้ระบบสารสนเทศในอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ
การจัดการระบบฐานความรู้
หลักการ การวางแผน การวิจัย
การจัดการนวัตกรรมทางธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหาร การจัดการความรู้
แนวโน้มและการประยุกต์นวัตกรรมทางธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหาร
แผนการเรียนปี 2 สำหรับนักศึกษาที่เลือกรายวิชาฝึกงาน
ปี 2 เทอม 1
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วยกิต
วิธีปฏิบัติตนเพื่อเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
มีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย การปลูกฝังจิตสำนึกรับผิดชอบ
การแบ่งปันและช่วยเหลือสังคม การตระหนักและมีวิสัยทัศน์ที่ดีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
กระบวนการคิดเชิงออกแบบที่มุ่งเน้นการเข้าใจผู้ใช้
การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์
สร้างไอเดียที่หลากหลาย สร้างตัวต้นแบบเพื่อทดลองและทดสอบความคิดทางนวัตกรรมที่เกิดขึ้น
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล
การสนทนาอย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ
การฟังและการอ่านเนื้อหาในเรื่องที่เกี่ยวข้องจากสื่อ
เลือกจากรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์ใช้โปรแกรมสำนักงาน ได้แก่
โปรแกรมประมวลผลคำ
การใช้โปรแกรมตารางคำนวณ การใช้โปรแกรมนำเสนอ
การใช้อินเทอร์เน็ตและการสื่อสารสังคมออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล จดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร
การท่องเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับออนไลน์
ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสื่อประสมประเภทข้อความ ภาพนิ่ง เสียง
ภาพเคลื่อนไหวและวิดีโอ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมจัดการสื่อประสม เช่น
โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบราสเตอร์ โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์
โปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ โปรแกรมตัดต่อภาพวิดีโอ
โปรแกรมแปลงไฟล์ภาพและวิดีโอ โปรแกรมนำเสนอผลงานสื่อประสม
และการเผยแพร่ผลงานสื่อประสมบนอินเทอร์เน็ต
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการตัดสินใจ
การใช้งานโปรแกรมประยุกต์หรือระบบเทคโนโลยีสานสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เช่น
โปรแกรมตารางคำนวณขั้นสูง โปรแกรมทางสถิติและความน่าจะเป็น
ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
โปรแกรมนำเสนอข้อมูลในรูปแบบกราฟิก
รวมถึงเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการจัดการข้อมูล ส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน
เพื่อนำเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อุปสงค์และอุปทานของสินค้าเกษตรและอาหาร โครงสร้างต้นทุนและหลักการบัญชีสูตรดอกเบี้ย
ค่าของเงินตามเวลา ตลาดและการกำหนดราคาของสินค้าอาหาร
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์เพื่อการตัดสินใจในการลงทุนด้านอุตสาหกรรมอาหาร
การวิเคราะห์การทดแทน การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ค่าเสื่อมราคาและการพิจารณาภาษีเงินได้
การใช้จุลินทรีย์ในอุตสาหกรรมอาหาร
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการตายของจุลินทรีย์ในกระบวนการของอุตสาหกรรมอาหาร
การเน่าเสียจากจุลินทรีย์ในอาหาร จุลินทรีย์ก่อโรคในอาหาร การควบคุมจุลินทรีย์ในอาหาร
เทคนิคการตรวจหาจุลินทรีย์ในอาหารสำหรับอุตสหกรรมอาหารสมัยใหม่
สุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยของอาหาร
หลักการและเครื่องมือในการแปรรูปอาหาร การแช่เย็น การแช่แข็ง การหมัก การทำให้เข้มข้น
การรมควัน
การแปรรูปขั้นต่ำ เฮอเดิลเทคโนโลยี การใช้วัตถุเจือปนอาหาร เทคโนโลยีใหม่ในการแปรรูปอาหาร
ปัจจัยการแปรรูปต่อคุณภาพและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ บรรจุ กระบวนการปลอดเชื้อ
การประเมินอายุการเก็บรักษาของอาหารเทคโนโลยีสะอาด
ผลิตผลพลอยได้และการใช้ประโยชน์จากของเสีย การศึกษาดูงานนอกสถานที่
เลือกจากรายวิชาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และนวัตกรรม
Basic Statistics for Innovation
ความหมายและบทบาทของสถิติในการพัฒนานวัตกรรม
การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องสำหรับการพัฒนานวัตกรรม
เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือเพื่อหาประสิทธิภาพนวัตกรรม
การตรวจสอบประสิทธิภาพนวัตกรรม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หลักการและกระบวนการของเทคโนโลยีสีเขียว การประเมินวัฏจักรชีวิต
การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ
กรณีศึกษาการบริหารจัดการและการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมง
ความรู้พื้นฐานด้านพลังงานทดแทนและเทคโนโลยีใกล้ตัว
แหล่งที่มาพลังงานทดแทนสถานการณ์พลังงานทดแทน
เทคโนโลยีและการบริโภคพลังงานทดแทน ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม
การจัดการของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตพลังงานทดแทน
การอนุรักษ์พลังงานอย่างมีส่วนร่วม การปลูกจิตสำนึกการใช้พลังงานอย่างฉลาด
การเตรียมความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงด้านพลังงาน
ปี 2 เทอม 2
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วยกิต
เลือกจากรายวิชาภาษา
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการบอกข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน
ความสนใจ
การสนทนาสั้นๆ ในสถานการณ์ต่าง ๆ การเขียนข้อความสั้น ๆ
การฟังและอ่านข้อความสั้น ๆ จากสื่อต่าง ๆ
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล
การสนทนาอย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ
การฟังและการอ่านเนื้อหาในเรื่องที่เกี่ยวข้องจากสื่อ
คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างภาษาในการสนทนาตามสถานการณ์ต่าง ๆ
ที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาในการนำเสนองานในแต่ละขั้นตอน การใช้วจนภาษาและ
อวจนภาษา การใช้สื่อประกอบการนำเสนองาน การนำเสนอเชิงสถิติ
การตั้งคำถามและการตอบคำถามระหว่างนำเสนอ
การเขียนประโยค การเขียนย่อหน้า การกรอกแบบฟอร์ม การเขียนบันทึกส่วนตัว
การเขียนจดหมายส่วนตัว การจัดข้อความโดยย่อจาการอ่านและการฟัง
ทักษะการฟังและการพูดในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
เน้นการออกเสียงที่ถูกต้อง
ความสามารถในการถ่ายทอดความต้องการเป็นภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์จำลองได้
บทสนทนาภาษาญี่ปุ่นในรูปแบบต่าง ๆ
โดยอาศัยสถานการณ์จำลองจากสถานการณ์จริงที่ผู้เรียนจะต้องพบในชีวิตประจำวัน
โดยฝึกฝนให้สามารถใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว เมื่อขำนาญขึ้น
สามารถนำคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
มาประกอบเพื่อขยายขอบเขตของบทสนทนาให้กว้างต่อไป
วิชาบังคับก่อน : 09-212-102 เคมีอินทรีย์ 1
ความรู้พื้นฐานของชีวเคมี โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล เอนไซม์และการทำงานของเอนไซม์ การสังเคราะห์โปรตีน ยีนและการควบคุม การทำงานของยีน เมแทบอลิซึม และชีวพลังงานของสารชีวโมเลกุล การประยุกต์ทางชีวเคมีสื่อ
ความรู้พื้นฐานของชีวเคมี โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล เอนไซม์และการทำงานของเอนไซม์ การสังเคราะห์โปรตีน ยีนและการควบคุม การทำงานของยีน เมแทบอลิซึม และชีวพลังงานของสารชีวโมเลกุล การประยุกต์ทางชีวเคมีสื่อ
สถิติพรรณนา การทดสอบสมมติฐานกรณีหนึ่งประชากร การทดสอบสมมติฐานกรณีสองประชากร
แนวความคิดเกี่ยวกับแผนแบบการทดลอง แผนแบบสุ่มสมบูรณ์ การเปรียบเทียบพหุคูณ
แผนแบบบล็อกสมบูรณ์เชิงสุ่ม แผนแบบจัตุรัสละติน แผนแบบแฟกทอเรียล
การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและการประยุกต์ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ
วิชาบังคับก่อน : 09-212-102 เคมีอินทรีย์ 1
องค์ประกอบและคุณสมบัติทางเคมีของอาหาร น้ำ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และรงควัตถุ การวอเคราะห์องค์ประกอบของอาหาร การเปลี่ยนแปลงทางเคมีและชีวเคมีขององค์ประกอบอาหาร กลไกของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในอาหาร เคมีของสารปรุงแต่ง สี กลิ่น และรสในอาหาร
องค์ประกอบและคุณสมบัติทางเคมีของอาหาร น้ำ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และรงควัตถุ การวอเคราะห์องค์ประกอบของอาหาร การเปลี่ยนแปลงทางเคมีและชีวเคมีขององค์ประกอบอาหาร กลไกของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในอาหาร เคมีของสารปรุงแต่ง สี กลิ่น และรสในอาหาร
ความรู้และหลักการพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม หน่วยและมิติ การสกัด การผสม การคัดแยก การลดขนาด
การกลั่น การระเหย การกรอง การดันผ่านเกลียวอัด กลศาสตร์ของไหล เครื่องกำเนิดไอน้ำ
ระบบการทำความเย็น แผนภูมิความชื้น สมดุลมวลสาร สมดุลพลังงาน การถ่ายโอนความร้อน
และการถ่ายโอนมวล
แนวโน้มของอุตสาหกรรมอาหาร ห่วงโซ่คุณค่าในอุตสาหกรรมอาหาร ธุรกิจเกิดใหม่ในอุตสาหกรรมอาหาร
นวัตกรรมอุตสาหกรรมอาหาร ความเป็นผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหาร กฎหมายอาหาร
ข้อบังคับอาหาร การนำเสนอแนวคิดในการประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหารของนักศึกษา
1. ชุดวิชาการพัฒนานวัตกรรมอาหารอนาคต
ความหมาย บทบาท และความสำคัญของอาหารเพื่อสุขภาพ แนวคิดการพัฒนาอาหารอนาคต
อาหารเกษตรอินทรีย์ อาหารและเครื่องดื่มฟังก์ชัน อาหารทางการแพทย์
อาหารใหม่ที่เกิดจากนวัตกรรม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การกล่าวอ้างทางสุขภาพ
อาหารอนาคต หลักการการผลิตอาหารอนาคต เทคโนโลยีการผลิตแบบใช้และไม่ใช้ความร้อน
เทคโนโลยีการหมักสมัยใหม่และเทคนิคทางชีวโมเลกุล เทคโนโลยีการสกัด
เทคโนโลยีการทำให้เข้มข้นและทำให้เข้มข้นและทำให้บริสุทธิ์
เทคโนโลยีการทำให้เป็นผง
09-513-302
บรรจุภัณฑ์และการออกแบบสำหรับอาหารอนาคต
Food Packaging and Design for Future Foods
Food Packaging and Design for Future Foods
3(2-3-5)
หลักการ ความสำคัญ และหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์อาหาร
ความปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์อาหารอาหาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์อาหาร
เทคโนโลยีการบรรจุภัณฑ์อาหาร บรรจุภัณฑ์สำหรับไมโครเวฟ บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การทดสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์อาหาร
การหาอายุการเก็บของอาหารในบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหารอนาคต
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
สถิติและการวางแผนการทดลองสำหรับอาหารอนาคตเทคนิคและวิธีการพัฒนาสำหรับนวัตกรรมอาหารอนาคต
การวิเคราะห์และสรุปผล การวางแผนและต้นทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
2. ชุดวิชาอาหารปลอดภัยและการควบคุมระบบประกันคุณภาพ
ความสำคัญของกฎหมาย ข้อกำหนดในอุตสาหกรรมอาหาร
มาตรฐานของอาหารระดับประเทศและสากล พระราชบัญญัติอาหาร
กฎหมายควบคุมการประกอบการกิจการโรงงานอุตสาหกรรม การจดทะเบียนอาหาร
การแสดงฉากและการโฆษณาอาหารกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การขออนุญาตประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาหาร ข้อกำหนดทางการค้าระหว่างประเทศ
กฎหมายและระเบียบระดับสากล
ความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร ระบบความปลอดภัย การสุขาภิบาลและวิธีการมาตรฐาน
การวางผังโรงงานและออกแบบ
การทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อโปรแกรมความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร
การตรวจสอบความปลอดภัย การวิเคราะห์ความปลอดภัย การอบรมและรณรงค์ในการทำงาน
ความสำคัญของการควบคุมคุณภาพ หลักการควบคุมคุณภาพ ปัจจัยคุณภาพ
การตรวจวัดคุณภาพอาหาร ระบบการควบคุมคุณภาพ สถิติในการควบคุมคุณภาพ
การใช้ประสาทสัมผัสในการควบคุมคุณภาพ
หลักการคุณภาพ ความหมายและความสำคัญของคุณภาพ ระบบคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพและกราประกันคุณภาพ การตรวจจับคุณภาพทางกายภาพ เคมี
และจุลชีววิทยา สถิติสำหรับการควบคุมคุณภาพ
หลักการจัดองค์กรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพ มาตรฐานระบบคุณภาพ
3. ชุดวิชาระบบเครื่องจักรอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
ความสำคัญของปัญญาประดิษฐ์ในอุตสาหกรรม
ภาพรวมและพัฒนาการของปัญญาประดิษฐ์ในปัจจุบัน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์และการพัฒนาเชิงกลยุทธิ์ในอุตสหกรรมอาหาร
ข้อจำกัดและการจัดการความเสี่ยงของปัญญาประดิษฐ์
เป้าหมายการพัฒนาของโครงงานด้านปัญญาประดิษฐ์และการเรียนเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
แนะนำเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาโดยใช้เทคนิคปัญญาประดิษฐ์
การเขียนโปรแกรมสำหรับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่องจักรสำหรับงานในอุตสาหกรรมอาหาร
เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ ได้แก่ การใช้เหตุผลในทางสัญลักษณ์เหตุผลทางสถิติ
การวางแผน ปัญญาประดิษฐ์แบบขนานและแบบกระจาย เครือข่ายเบยส์เซียน
การเรียนรู้โดยใช้ต้นไม้การตัดสินใจ โครงข่ายประสาทเทียม การประเมินสมมติฐาน
การเรียนรู้เฉพาะหน้า วิธีเชิงพันธุกรรม การเรียนรู้แบบวิเคราะห์
การเรียนรู้แบบเสริมบังคับ
09-515-302
การออกแบบระบบอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
Design of Automation of Food Industry
Design of Automation of Food Industry
3(2-3-5)
ระบบอัตโนมัติกับอุตสาหกรรมอาหาร
เครื่องจักรระบบเครื่องอัตโนมัติในอุตสาหกรรมอาหารเซนเซอร์ระบบสำหรับอัตโนมัติ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมเครื่องจักรอัตโนมัติ ระบบนิวแมติกส์
ระบบไฮดรอลิกส์และระบบไฟฟ้า การออกแบบการวางระบบอัตโนมัติเบื้องต้น
เครื่องจักรในอุตสาหกรรมอาหาร
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของเครื่องจักรอุตสาหกรรมอาหาร
การเสื่อมสภาพและการขัดข้องของเครื่องจักร การบำรุงรักษาระบบอัตโนมัติ
ระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์ และระบบเซ็นเซอร์ การบำรุงรักษาเชิงวางแผน
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน การบำรุงรักษาทวีพล
4. ชุดวิชาการจัดการและการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร
ขอบเขต ความหมาย บทบาทของการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดหาวัตถุดิบและกลยุทธิ์ การบริการลูกค้า
การบริการสินค้าคงคลังและการคลังสินค้า การขนส่งสินค้าเกษตรและอาหาร
เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมอาหาร
ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หลักการวางแผนกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร วิธีการพยากรณ์กำลังคน
การคำนวณต้นทุนของกำลังคน การวิเคราะห์งาน
การสรรหาและคัดเลือกกำลังคนสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาบุคลากร
การประเมินสมรรถนะ ระบบค่าแรงจูงใจ ความปลอดภัยในโรงงานอาหาร
ทรัพยากรข้อมูล หลักการและโครงสร้างของระบบสารสนเทศ
บทบาทของสารสนเทศในอุตสาหกรรมอาหาร การจัดการทรัพยากรข้อมูล
การใช้ระบบสารสนเทศในอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ
การจัดการระบบฐานความรู้
หลักการ การวางแผน การวิจัย
การจัดการนวัตกรรมทางธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหาร การจัดการความรู้
แนวโน้มและการประยุกต์นวัตกรรมทางธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหาร